5 SIMPLE STATEMENTS ABOUT สงครามในพม่า EXPLAINED

5 Simple Statements About สงครามในพม่า Explained

5 Simple Statements About สงครามในพม่า Explained

Blog Article

เมื่อค่ำวันเสาร์ ข่าวจากสื่อพม่าหลายกระแสยืนยันว่าฝ่ายต่อต้านยึดเมืองเมียวดีตรงข้ามอำเภอแม่สอด, จังหวัดตากของไทย, เรียบร้อยแล้ว

รัฐประหารเมียนมา: ทหารใช้วิธีประทุษร้ายทางเพศและซ้อมทรมาน เพื่อปราบปรามผู้ประท้วงหญิง

“ซึ่งผมมองว่ามันน่าจะมีการกำหนดรัศมีเขตห้ามบินของทหารพม่า เพื่อความปลอดภัยของพลเรือน ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามในครั้งนี้ ซึ่งมีทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา คนพิการ คนไข้คนป่วย ต้องมาเจอกับความสูญเสียนี้ด้วย ที่ผ่านมา ก็เคยเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของทหารพม่าบินเลยเข้ามาในเขตน่านฟ้าของประเทศไทยในสมัยรัฐบาลประยุทธ์ ซึ่งก็มีการแก้ตัวกันขุ่นๆ ว่าไม่รู้ ซึ่งตนมองว่านี่เป็นการแก้ตัวแทนให้ทางทหารพม่ามากกว่า โดยที่พม่าไม่ได้ออกมาพูดแม้แต่คำเดียว แทนที่จะออกมาปกป้องอธิปไตย แต่กลายมาเป็นการอธิบายแทนทหารพม่า โดยที่ทางพม่าไม่ได้ออกมาตอบโต้อะไรสักอย่าง ดังนั้น ผมอยากเสนอให้ทางอาเซียน และประชาคมโลก เข้ามาดำเนินการกดดัน จัดการปัญหาสงครามในพม่าไปเลย โดยเฉพาะเข้าไปจัดการปัญหาเรื่องของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า อยากให้เข้าไปกดดัน หรือนำกองกำลังของนานาชาติเข้าไปควบคุมเลย”

จีนพร้อมสำหรับการปกครองแบบ “สหภาพพม่า”

ตัวแปรหลักในสงคราม คือ สงครามในพม่า ‘เจ้าพ่อเมียวดี’ คนที่ชายแดนแม่สอดบอกว่า ถ้าอยากจะเข้าใจสถานการณ์ความขัดแย้งในเมียวดีต้องรู้จักคนชื่อ พันเอก หม่อง ชิตตู่

ข้ามไปเนื้อหา เมนูหลัก เมนูหลัก

สื่อญี่ปุ่นระบุพม่าระงับการออกใบอนุญาตให้ผู้ชายไปทำงานต่างประเทศชั่วคราว

รัฐบาลทหารเมียนมาใกล้ถึงจุดจบหรือไม่ หลังเสียเมียวดี เมืองชายแดนติดไทย

นอกจากนี้ภาคสังคมอย่างพระครูพินิตธรรมวิธาน (บุตรา) วัดมงคลนิมิต ต.แม่กาษา อ.แม่สอด ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้หนีภัย เปิดครัวประกอบอาหาร นำอาหารและของใช้จำเป็นไปช่วยเหลือชาวเมียนมาและคนไทยพลัดถิ่นในหมู่บ้านห้วยส้าน จ.เมียวดี ด้วย

"เราอยู่บ้านตัวเองไม่ได้ เพราะเผด็จการทหารทิ้งระเบิดใส่หมู่บ้านเรา"

ข่าวการสู้รบในพม่าไหลออกมาอย่างต่อเนื่องจากสื่อทุกรูปแบบในพม่าและนอกประเทศ

การช่วยเหลือที่นอกเหนือจากแผนการรับมือของรัฐที่ได้เตรียมการไว้แล้ว ยังมีกลุ่มภาคประชาสังคมและหน่วยงานในองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ที่ส่งความช่วยเหลือเฉพาะหน้าเร่งด่วน

ตัวเลขในวงเล็บ หมายถึง ปีพุทธศักราช

ผศ.ดร.ลลิตา หาญวงษ์ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องเมียนมา จากคณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ กล่าวกับบีบีซีไทยว่า รัฐบาลไทยควรพิจารณาเรื่องนี้อย่างระมัดระวัง เพราะนี่คือการอนุญาตให้ประเทศเพื่อนบ้านใช้ดินแดนที่อยู่ในเขตอำนาจอธิปไตยของไทย นอกจากนี้ ถ้าหากไทยทำตามการร้องขอของรัฐบาลทหารเมียนมาครั้งนี้ จะส่งผลให้ถูกประณามจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งกำลังจับตามองบทบาทของไทยต่อปัญหาความขัดแย้งในเมียนมา

Report this page